การวัดความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ
(Measuring Inequality)
- Kuznets ratio (อัตราส่วนคูสเน็ตส์)
- Lorenz curve (เส้นโค้งลอเรนซ์)
- Gini Coefficient (สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค)
______________________________________________________________________
Kuznets ratio (อัตราส่วนคูสเน็ตส์)
|
|
ผู้คิดค้น: Simon Kuznets (ไซมอน คูสเน็ตส์)
อัตราส่วนคูสเน็ตส์ใช้แสดงช่องว่างความต่างของรายได้ระหว่างคนรวยและคนจน โดยเอารายได้รวมของกลุ่มคนรวยระดับต้นๆของประเทศ 20%ของส่วนแบ่งรายได้ หารด้วย 40% ของคนจนระดับล่างสุดของประเทศ ยิ่งผลลัพท์ของอัตราส่วนสูงเท่าไร ยิ่งแสดงให้เห็นว่า ช่องว่างระหว่างคนจนรวยมากยิ่งเท่านั้น
|
วิธีคำนวณ
สมมุติว่า ประเทศA มีประชากรทั้งหมด 20 คน
โดยรายได้รวมของประเทศ (Total national income) เท่ากับ 100 หน่วยเงิน (เช่น ดอลลาร์)
- หา Quintiles จากส่วนแบ่งรายได้ของทั้งระบบ เช่น 10 + 12.5 + 13.5 + 20 = 56
- ส่วนแบ่งรายได้ของกลุ่มคนที่รวยที่สุด 20% = 56
- ส่วนแบ่งรายได้ของกลุ่มคนที่จนที่สุด 40% = 13
- Kuznets ratio = 56/13 = 4.31
ตามที่เห็นในตาราง (figure 1) ประชากรทั้ง 20 คน ได้รับส่วนแบ่งทางเศรษฐกิจอย่างไม่เท่าเทียมกัน
การคำนวณอัตราส่วนคูสเน็ตส์จากข้อมูลในตาราง:
|
|
ข้อน่ารู้
หากการกระจายรายได้ส่วนบุคคลมีความเท่าเทียมกันทั้งประเทศ
- ทั้ง 20 คน จะได้รับส่วนแบ่งคนละ 5 หน่วยเงิน
- อัตราส่วนคูสเน็ตส์จะเท่ากับ 0.5 หรือ 1/2
ข้อเสีย
ถึงแม้อัตราส่วนคูสเน็ตส์จะสามารถทำให้การเปรียบเทียบความไม่เท่าเทียมกันมีความเป็นไปได้มากขึ้น แต่การคำนวณช่องว่างระหว่างรายได้40%ของคนรวยและ 20%คนจน ยังมีความแม่นยำไม่พอที่จะแสดงให้เห็นความระดับไม่เท่าเทียมกันของทั้งมวลประเทศ ทำให้ต่อมามีการคิดค้น Lorenz curve ขึ้นเพื่อปรับจุดอ่อนดังกล่าว
|
|
figure 2 |
|
______________________________________________________________________
Lorenz curve (เส้นโค้งลอเรนซ์)
|
ผู้คิดค้น: Conard Lorenz (โคนาร์ด ลอเรนซ์)
เส้นโค้งลอเรนซ์แสดงลักษณะการกระจายรายได้ของประชาชนในประเทศ โดยแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราร้อยละของประชากร(Percentage of Population)และอัตราร้อยละของรายได้(Percentage of Income) โดยปกติเส้นมีจะลักษณะโค้งเข้ามาทางมุมขวาล่าง ยิ่งโค้งเข้ามุมมากเท่าไรยิ่งแสดงให้เห็นว่าการกระจายรายได้ของปรเทศนั้นๆมีความไม่เท่าเทียมกันสูง(figure 4) ในขณะที่เส้นยิ่งตรงเท่าไหร่ยิ่ง มีความเท่าเทียมกันสูง(figure 5)
|
|
figure 3: Lorenz curve |
|
| |
วิธีสร้างเส้นโค้ง
จากข้อมูลในตารางสมมุติ "การกระจายรายได้ส่วนบุคคลของ A" (figure 1)
- หา Deciles จากส่วนแบ่งรายได้ของทั้งระบบ (เพื่อความสะดวกในการจุดพิกัสในทุก10%)
- หา Cumulative of Deciles
|
การกระจายรายได้ส่วนบุคคลในประเทศกำลังพัฒนา A
|
ส่วนแบ่งของรายได้ (%)
บุคคล
|
รายได้ส่วนบุคคล (หน่วยเงิน)
|
Deciles
|
Cumulative of Deciles
|
1
|
0.4
| | |
2
|
0.8
|
1.2
|
1.2
|
3
|
1.0
| | |
4
|
1.8
|
2.8
|
4
|
5
|
2.0
| | |
6
|
2.1
|
4.1
|
8.1
|
7
|
2.3
| | |
8
|
2.6
|
4.9
|
13
|
9
|
3.0
| | |
10
|
3.4
|
6.4
|
19.4
|
11
|
3.7
| | |
12
|
3.9
|
7.6
|
27
|
13
|
4.0
| | |
14
|
4.1
|
8.1
|
35.1
|
15
|
4.4
| | |
16
|
4.5
|
8.9
|
44.
|
17
|
10.0
| | |
18
|
12.5
|
22.5
|
66.5
|
19
|
13.5
| | |
20
|
20.0
|
33.5
|
100
|
รวม
|
100
|
100
| |
|
|
|
figure 6 |
|
______________________________________________________________________
Gini Coefficient (สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค)
|
ผู้คิดค้น: Corrado Gini (คอร์ราโด จีนี่)
เนื่องจากเส้นโค้งลอเรนซ์มีลักษณะเป็นกราฟทำให้ยากต่อการเปรียบเทียบระหว่างประเทศ ทั้งนี้จึงมีการแปลเส้นโค้งให้เป็นตัวเลข โดยการหาพื้นที่ในเส้นโค้ง โดยเรียกข้อมูลตัวเลขนี้ว่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini Coefficient หรือ Gini Index)
|
คุณสมบัติ
- Gini Coefficient มีค่าระหว่าง 0 ถึง1 เท่านั้น
- ถ้าการกระจายรายได้ความไม่เสมอภาคเลย Gini Coefficient จะมีค่าเท่ากับ 0 ดังภาพ (figure 8)
- ถ้ามีกระจายรายได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันสำหรับทุกคนในสังคม Gini Coefficient จะมีค่าเท่ากับ 1 ดังภาพ (figure 9)
|
|
วิธีคำนวณ
|
ข้อเสีย
ในกรณีที่ลักษณะการกระจายของรายได้ต่อครัวเรือนของทั้ง 2 ประเทศ ดังใน figure 10 เราสามารถวัดพื้นที่ A และ B เพื่อหาค่าความต่างได้ แต่หากเป็นอย่างใน figure 11 ในกรณีที่ประเทศ A และ B มีพื้นที่เท่ากันแต่ลักษณะการกระจายของรายได้ต่อครัวเรือน ทำให้เกิดอุปสรรค์ในการเปรียบเทียบเช่นกัน
|
|
|
| | |
ที่มา:
1. Todaro, M. P., & Smith, S. C. (2015). Economic development, 12th Edition. Boston: Pearson Addison Wesley.
2. http://economicsconcepts.com/lorenz_curve_and_gini_coefficient.htm